พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระยอดขุนพลศรีเ...
พระยอดขุนพลศรีเทพ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปี 2535
พระยอดขุนพลศรีเทพ เตื้อดินบรรจุพระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปี 2535
พระเนื้อดิน พิมพ์ยอดขุนพลศรีเทพ บรรจุ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ สร้างเพื่อนำเข้าบรรจุในองค์พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก(ปัจจุบัน) ในปี2535 มีหลายพิมพ์ เช่น สมเด็จ นางพญา และพิมพ์อื่นๆ แต่จะด้านหลังปั๊มตรา พระบรมเจดีย์ เข้าค้อ(แต่พิมพ์สวยงดงามที่สุดครับ)
พระราชพิธีพุทธาภิเษกหมู่ มีพระสงฆ์หลายรูปทั้งสายอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ สายตะวันออก และสายใต้
หากเป็นพระเนื้อดินสีดำ ในหลวงท่านจะพระราชทานถวาย ให้พระเถระ ที่มาร่วมอธิฐานจิตในพิธี ส่วนสีอื่นๆจะแจกให้กับประชาชนที่มาในพระราชพิธีวันนั้นเท่านั้น ก่อนนำพระที่เหลือทั้งหมดเข้าไปบรรจุพระเจดีย์เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
พระเนื้อดิน พิมพ์ยอดขุนพลศรีเทพ สีดำ บรรจุ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก ตั้งอยู่บนเขาค้อ ริมทางหลวงหมายเลข 2196 อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเขาค้อไปทางทิศเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร จะเห็นพระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก อยู่ติดถนนด้านขวามือ เป็นเจดีย์ที่มีสถาปัตยกรรมผสมผสานทั้งแบบสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปให้ประชาชนได้สักการะบูชา ยอดเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอัฐธาตุของพระพุทธเจ้า ที่อัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา โดยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานให้กับประชาชนในพื้นที่ หลังจากยุติการสู้รบกับคอมมิวนิสต์ใน ประเทศไทย
ความเป็นมา
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ รวมทั้งพระธาตุของพระอริยสาวก ในสถูปศิลาขนาดเล็ก ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร และหนึ่งในจำนวนของสถูปศิลาที่ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ถวายแด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพะราชทานพรบรมสารีริกธาตุแก่ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ เพื่อให้อัญเชิญไปประดิษฐานประจำสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้ ณ พื้นที่เขาค้อแห่งนี้ เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบ ระหว่างคนไทยด้วยกันเองมานาน จนทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และเลือดเนื้อจำนวนมาก ยังเศร้าโศกเสียใจให้กับคนไทยทั้งชาติ และเมื่อการสู้รบยุติลง ความสงบสุขร่มเย็นก็เริ่มบังเกิดขึ้น ราษฎรในพื้นที่ได้รับการส่งเสริม ให้มีที่ทำกินเป็นของตนเอง มีการพัฒนาอาชีพทางการเกษตร ราษฏรในพื้นที่เขาค้อ มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเป็นลำดับ มีรายได้เพียงพอต่อการครองชีพ และที่สำคัญราษฎรมีความรัก และหวงแหนในแผ่นดิน ที่แลกมาด้วยชีวิตเลือดเนื้อ และหยาดน้ำตาของทหารหาญและพี่น้องคนไทยจำนวนมาก
พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมสารีริกธาตุให้กับ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ เพื่อให้นำไปประดิษฐาน ณ พื้นที่เขาค้อนี้ให้เป็นที่เคารพสักการะ และนำความสงบสุขร่มเย็นมาสู่ราษฎรในพื้นที่ อีกทั้งให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทุกหมู่เหล่า ให้ร่วมมือร่วมใจพัฒนาชาติไทย ให้วัฒนาสถาพร ดังนั้น จึงได้มีพระบรมสารีริกธาตุให้ราษฎรในพื้นที่เขาค้อ และใกล้เคียงได้เคารพสักการะ ณ สำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ปี พ.ศ. 2534 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยลึก หลังสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เจ้าอาวาสสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม ได้กราบบังคมทูลว่ามีเศรษฐีนีท่านหนึ่ง มีความประสงค์จะขอสร้างพระสถูปเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชกระแสกับ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ ว่าควรจะให้คนไทยทุกหมู่เหล่าได้มีส่วนร่วมในการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวน่าจะเหมาะสมกว่า
พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ขณะนั้น) ได้มีหนังสือกราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานการสร้างพระสถูปเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเขาค้อ และการจัดสร้างวัตถุมงคล และทรงตอบรับเชิญ เป็นองค์ประธานในการก่อสร้าง และทรงเป็นองค์ประธานในพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไว้ในพระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2542
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานชื่อว่า “พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก” เมื่อ 27 มิถุนายน 2539
การออกแบบ
ให้มีเอกลักษณ์ทางศิลปพุทธสถานทางภาคเหนือ เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย และรัตนโกสินทร์ประยุกต์ รูปแบบขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ที่ผังของฐานด้านล่างเป็นแบบย่อมุมไม้สิบสอง ฐานชั้นบนมีผังเป็น 8 เหลี่ยม อันเป็นลักษณะที่มีการใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยทวาราวดี องค์พระบรมธาตุเจดีย์มีความสูง 69 หลา หมายถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมายุครบ 69 พรรษา ฐานเจดีย์กว้าง 39 หลา หมายถึงปีพุทธศักราช 2539
ลักษณะรูปแบบในส่วนของรูปด้านบริเวณฐานชั้นล่างและฐานชั้นบนยึดขยายยกสูง ขึ้น และได้มีการนำลักษณะแบบอย่างการใช้ซุ้มคูหามาประดับเข้า 4 ด้าน ซึ่งในการประดับด้วยซุ้มคูหานี้ตามหลักฐานปรากฏว่า มีการใช้มาตั้งแต่ครั้งสมัยทวาราวดี บริเวณฐานชั้นล่างนี้มีซุ้มคูหา 4 ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ และบริเวณฐาน 8 เหลี่ยม ตอนบนมีซุ้มคูหาขนาดใหญ่ และเล็กสลับกัน ซึ่งซุ้มคูหาขนาดใหญ่ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ
ผู้เข้าชม
206 ครั้ง
ราคา
750
สถานะ
ยังอยู่
โดย
kunchaiko
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
ร้านค้า
-
โทรศัพท์
0844617882
ไอดีไลน์
kunchaiko
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงไทย / 980-4-89652-4
เหรียญรุ่น3 หลวงปู่จวน สัญญโต
ล๊อกเก็ตหลวงพ่อสายทอง เตชธมฺ
เหรียญรุ่นแรกหลวงพ่อเทพนิมิต ว
เหรียญรุ่นแรก พระครูมงคลคณา
พระผงรุ่นแรกหลวพ่อเลื่อน ว
เหรียญรุ่นแรกพระครูอุดมคีรี
เหรียญรุ่นแรกพระครูสุวรรณปทุมร
เหรียญหลวงพ่อโสธร 100ปีโรงเรีย
เหรียญรุ่นแรก หลวงพ่อแวง สุวณณ
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
vanglanna
trairat
varavet
ภูมิ IR
ชา วานิช
yoon9
Oogta
หริด์ เก้าแสน
tangmo
ชวลิต
ชาวานิช
มัญจาคีรี ud
natt29
termboon
Beerchang พระเครื่อง
เจริญสุข
โก้ สมุทรปราการ
someman
โกหมู
Supanut
Popgomes
digitalplus
เทพจิระ
wach2514
นรินทร์ ทัพไทย
นานา
somphop
jocho
akira
ep8600
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1331 คน
เพิ่มข้อมูล
พระยอดขุนพลศรีเทพ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปี 2535
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระยอดขุนพลศรีเทพ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปี 2535
รายละเอียด
พระยอดขุนพลศรีเทพ เตื้อดินบรรจุพระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ ปี 2535
พระเนื้อดิน พิมพ์ยอดขุนพลศรีเทพ บรรจุ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์ สร้างเพื่อนำเข้าบรรจุในองค์พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก(ปัจจุบัน) ในปี2535 มีหลายพิมพ์ เช่น สมเด็จ นางพญา และพิมพ์อื่นๆ แต่จะด้านหลังปั๊มตรา พระบรมเจดีย์ เข้าค้อ(แต่พิมพ์สวยงดงามที่สุดครับ)
พระราชพิธีพุทธาภิเษกหมู่ มีพระสงฆ์หลายรูปทั้งสายอีสาน ภาคกลาง ภาคเหนือ สายตะวันออก และสายใต้
หากเป็นพระเนื้อดินสีดำ ในหลวงท่านจะพระราชทานถวาย ให้พระเถระ ที่มาร่วมอธิฐานจิตในพิธี ส่วนสีอื่นๆจะแจกให้กับประชาชนที่มาในพระราชพิธีวันนั้นเท่านั้น ก่อนนำพระที่เหลือทั้งหมดเข้าไปบรรจุพระเจดีย์เพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
พระเนื้อดิน พิมพ์ยอดขุนพลศรีเทพ สีดำ บรรจุ พระบรมธาตุเจดีย์ เขาค้อ จ.เพชรบูรณ์
รายละเอียดเพิ่มเติม
พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก ตั้งอยู่บนเขาค้อ ริมทางหลวงหมายเลข 2196 อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเขาค้อไปทางทิศเหนือประมาณ 2 กิโลเมตร จะเห็นพระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก อยู่ติดถนนด้านขวามือ เป็นเจดีย์ที่มีสถาปัตยกรรมผสมผสานทั้งแบบสุโขทัย อยุธยา และรัตนโกสินทร์ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปให้ประชาชนได้สักการะบูชา ยอดเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ พระอัฐธาตุของพระพุทธเจ้า ที่อัญเชิญมาจากประเทศศรีลังกา โดยพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชทานให้กับประชาชนในพื้นที่ หลังจากยุติการสู้รบกับคอมมิวนิสต์ใน ประเทศไทย
ความเป็นมา
เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ.2529 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ รวมทั้งพระธาตุของพระอริยสาวก ในสถูปศิลาขนาดเล็ก ณ พระอุโบสถวัดบวรนิเวศวิหาร และหนึ่งในจำนวนของสถูปศิลาที่ได้บรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ถวายแด่สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายก และพะราชทานพรบรมสารีริกธาตุแก่ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ เพื่อให้อัญเชิญไปประดิษฐานประจำสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ การ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม ให้อัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้ ณ พื้นที่เขาค้อแห่งนี้ เนื่องจากพื้นที่แห่งนี้ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ที่มีการสู้รบ ระหว่างคนไทยด้วยกันเองมานาน จนทำให้เกิดการสูญเสียชีวิต และเลือดเนื้อจำนวนมาก ยังเศร้าโศกเสียใจให้กับคนไทยทั้งชาติ และเมื่อการสู้รบยุติลง ความสงบสุขร่มเย็นก็เริ่มบังเกิดขึ้น ราษฎรในพื้นที่ได้รับการส่งเสริม ให้มีที่ทำกินเป็นของตนเอง มีการพัฒนาอาชีพทางการเกษตร ราษฏรในพื้นที่เขาค้อ มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นเป็นลำดับ มีรายได้เพียงพอต่อการครองชีพ และที่สำคัญราษฎรมีความรัก และหวงแหนในแผ่นดิน ที่แลกมาด้วยชีวิตเลือดเนื้อ และหยาดน้ำตาของทหารหาญและพี่น้องคนไทยจำนวนมาก
พระ บาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อม พระราชทานพระบรมสารีริกธาตุให้กับ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ เพื่อให้นำไปประดิษฐาน ณ พื้นที่เขาค้อนี้ให้เป็นที่เคารพสักการะ และนำความสงบสุขร่มเย็นมาสู่ราษฎรในพื้นที่ อีกทั้งให้เป็นศูนย์รวมจิตใจของคนไทยทุกหมู่เหล่า ให้ร่วมมือร่วมใจพัฒนาชาติไทย ให้วัฒนาสถาพร ดังนั้น จึงได้มีพระบรมสารีริกธาตุให้ราษฎรในพื้นที่เขาค้อ และใกล้เคียงได้เคารพสักการะ ณ สำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม บ้านเขาค้อ อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ ตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา
ปี พ.ศ. 2534 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดำเนินไปทรงปลูกป่าบริเวณอ่างเก็บน้ำห้วยลึก หลังสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เจ้าอาวาสสำนักสงฆ์วิชมัยปุญญาราม ได้กราบบังคมทูลว่ามีเศรษฐีนีท่านหนึ่ง มีความประสงค์จะขอสร้างพระสถูปเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานมา สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี มีพระราชกระแสกับ พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ ว่าควรจะให้คนไทยทุกหมู่เหล่าได้มีส่วนร่วมในการก่อสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อบรรจุพระบรมสารีริกธาตุดังกล่าวน่าจะเหมาะสมกว่า
พลเอก พิจิตร กุลละวณิชย์ รองผู้บัญชาการทหารสูงสุด (ขณะนั้น) ได้มีหนังสือกราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เป็นองค์ประธานการสร้างพระสถูปเจดีย์บรรจุพระบรมสารีริกธาตุเขาค้อ และการจัดสร้างวัตถุมงคล และทรงตอบรับเชิญ เป็นองค์ประธานในการก่อสร้าง และทรงเป็นองค์ประธานในพิธีบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ไว้ในพระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก อำเภอเขาค้อ จังหวัดเพชรบูรณ์ เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 14 มกราคม 2542
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานชื่อว่า “พระบรมธาตุเจดีย์กาญจนาภิเษก” เมื่อ 27 มิถุนายน 2539
การออกแบบ
ให้มีเอกลักษณ์ทางศิลปพุทธสถานทางภาคเหนือ เป็นลักษณะสถาปัตยกรรมสมัยสุโขทัย และรัตนโกสินทร์ประยุกต์ รูปแบบขององค์พระบรมธาตุเจดีย์ ที่ผังของฐานด้านล่างเป็นแบบย่อมุมไม้สิบสอง ฐานชั้นบนมีผังเป็น 8 เหลี่ยม อันเป็นลักษณะที่มีการใช้ตั้งแต่ครั้งสมัยทวาราวดี องค์พระบรมธาตุเจดีย์มีความสูง 69 หลา หมายถึง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระชนมายุครบ 69 พรรษา ฐานเจดีย์กว้าง 39 หลา หมายถึงปีพุทธศักราช 2539
ลักษณะรูปแบบในส่วนของรูปด้านบริเวณฐานชั้นล่างและฐานชั้นบนยึดขยายยกสูง ขึ้น และได้มีการนำลักษณะแบบอย่างการใช้ซุ้มคูหามาประดับเข้า 4 ด้าน ซึ่งในการประดับด้วยซุ้มคูหานี้ตามหลักฐานปรากฏว่า มีการใช้มาตั้งแต่ครั้งสมัยทวาราวดี บริเวณฐานชั้นล่างนี้มีซุ้มคูหา 4 ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ และบริเวณฐาน 8 เหลี่ยม ตอนบนมีซุ้มคูหาขนาดใหญ่ และเล็กสลับกัน ซึ่งซุ้มคูหาขนาดใหญ่ ภายในประดิษฐานพระพุทธรูปทั้ง 4 ทิศ
ราคาปัจจุบัน
750
จำนวนผู้เข้าชม
212 ครั้ง
สถานะ
ยังอยู่
โดย
kunchaiko
ชื่อร้าน
ยังไม่เปิดร้านค้า
URL
-
เบอร์โทรศัพท์
0844617882
ID LINE
kunchaiko
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
2. ธนาคารกรุงไทย / 980-4-89652-4
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี